วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2554

16102-202-16 การหาแบบยุคลิด

การหาแบบยุคลิด

ตัวอักษรคือการเปรียบเทียบจำนวน

จำนวนมาก=A    จำนวนน้อย=B    จำนวนต่างระหว่างผลของB(C)และA=D

จำนวนที่คูณBแล้วใกล้เคียงAโดยไม่ให้เกินค่าของAมากที่สุด=C

BคูณกับC=(B(C))

จำนวนที่คูณDให้มีผลลัพท์เท่ากับ(ฺB(C))=E

A=B(C)+D
(B(C))=D(E)

และถ้าDสามารถคูณEได้ผลลัพท์เท่ากับ(B(C))ก็จะได้ห.ร.ม.ของAและฺB

เปรียบเทียบระหว่างวิธีแยกตัวประกอบกับยูคลิคให้ดู

36,24

36= 2 2 3 3
24= 2 2 2 3ห.ร.ม.ของ36,24คือ2x2x3=12


และวิธีของยูคลิค

36=24(1)+12
24=12(2)

ห.ร.ม.ของ36,24คือ12


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น